THAI ELEPHANT CONSERVATION CENTER

โรงช้างต้น / Royal Elephant stable

ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชประสงค์ให้นำช้างต้นช้างสำคัญมาพักผ่อนอิริยาบถ ณ โรงช้างต้น สถาบันคชบาลแห่งชาติ  จ.ลำปาง จำนวน ๖ ช้าง ๑ เชือก  โรงช้างต้น  ณ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จ.สกลนคร จำนวน ๓ ช้าง ๑ เชือก และช้างในพระอุปถัมภ์ฯ จำนวน 2 ช้าง รวมทั้งหมด 13 เชือก โดยมีกิจวัตรประจำวันคือ ออกกำลังกายในตอนเช้า และดำรงชีวิตในป่าในช่วงสาย-เย็น จากกนั้นจึงกลับมายืนโรงจนถึงเช้าวันรุ่งขึ้น

สำหรับคำถามที่ว่า ทำไมช้างต้นถึงมีความสำคัญต่อวัฒนธรรมไทยนั้น มีความเชื่อว่าช้างต้นนั้นแสดงถึงความมั้งคั้งอุดมสมบรูณ์ของประเทศ  มีเหตุการณ์สำคัญเหตุการณ์หนึ่งในปี พศ 2092 มีสงครามระหว่างกษัตริย์พม่าต้องการช้างต้นจำนวน 7 ช้างซึ่งเป็นของพระมหาจักรพรรดิ์แห่งกรุงศรีอธุทยา ผู้ซึ่งได้รับการยกย่องเป็น เทพเจ้าแห่งช้างเผือก ซึ่งช้างเผือกเคยอยู่ในธงประจำชาติไทยจนถึงปี พศ 2460 และปัจจุบันช้างเผือกยังเป็นธงประจำกองทัพเรือไทยอีกด้วย

ยังเป็นที่กังขาเกี่ยวกับช้างเผือกอยู่สองประการคือ ประการแรก ความรู้สึกของชาวตะวันตกว่า ช้างเผือกนั้นหมายถึงบางอย่างที่มีค่าสูงในแง่ของการบรรทุกของหนักในขณะที่ ชาวไทยสัตว์เหล่านี้มีคุณค่าที่ไม่สามารถประเมินได้ (ซึ่งช้างเหล่านั้นจะต้องถูกถวายให้กับเจ้าแผ่นดินเท่านั้น )

ประการ ที่สองคือ ช้างเหล่านั้นไม่ได้มีสีขาวเลย หรือว่าเผือกตามที่เข้าใจ แม้แต่ผู้เชียวชาญเกี่ยวกับช้างบอกว่าช้างเหล่ามีลักษณะเป็นสีเทา กระนั้น แม้แต่คนไทยทั่วไปยังเรียกสัตว์เหล่านี้ว่า ช้างเผือก แทนที่จะเรียกใ้ห้ถูกต้องว่า ช้างสำคัญ ซึ่งหมายถึงช้างมงคล

ซึ่งคุณสมบัติของช้างเผือกจะต้องไ้ด้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญจากราชวังเท่า นั้น และจะต้องมีการจัดวรรณะของช้างเผือกเหล่านั้นอีกด้วย โดยใช้กฏในสมัยโบราณ ผู้เชี่ยวชาญช้างจะแยกวรรณช้างออกเป็น 4 วรรณะ แต่ละวรรณะจะมีบ้านในป่าหิมะพาน โดยใช้ลักษณะใช้หลักเกณฐ์ทั้งเจ็ดอย่าง ในการเลือกช้างเหล่านั้นอยู่ในแต่ละวรรณะ

With the grace of the King Rama lX, King Bhumibol Adulyadej brought seven elephants to the royal elephant stable at the National Elephant Institute in Lampang province. In addition, he brought four more elephants to the royal elephant stable at Phuphan Palace in Sakon Nakhon province, including two retired elephants in patronage. These elephants routinely exercise in the morning and live in the jungle the whole day, returning to the stables in the evening.

Many may wonder why the royal elephants are so important in Thai culture. Throughout history, people believed that royal elephants represented the wealth and status of a country. In 1551 during the country’s war with Burma, the discovery of seven white elephants was celebrated by the Thai kingdom as they represented the King of Ayutthaya’s righteousness and power. The image of the royal elephant was on the national flag of Thailand until 1917, and presently it is on the navy’s flag.

White elephants, consecrated as such by the King, are auspicious to all Thais. Most white elephants are not totally white, they are just paler in color. For a white elephant to qualify as a royal elephant, their features are checked by experts from the palace staff. Using ancient rules, the criteria lists seven traits that will determine into what caste the elephant will be designated. There are four castes of elephants, with each having a house in the “Himavanta” or “Himmaphan” (a legendary forest which surrounds the base of Mount Meru in Hindu mythology).